Skip to content Skip to sidebar Skip to footer
ตรวจโครโมโซม

ข้อดี ข้อจำกัดในการตรวจ โครโมโซมตัวอ่อน

ข้อดี ข้อจำกัดในการตรวจ โครโมโซมตัวอ่อน เจาะลึกข้อดีและข้อจำกัดการตรวจโครโมโซมตัวอ่อนความหวังของการมีลูก เทคโนโลยีการตรวจโครโมโซมตัวอ่อน ซึ่งปัจจุบันมีทั้งการตวรจแบบ NGS และการตรวจแบบ PGT เปรียบเสมือนเข็มนำทางคู่รัก ที่กำลังจะเข้าสู่กระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว icsi ivf ให้มีลูกได้อย่างมั่นใจมากขึ้น ทำไมการตรวจโครโมโซมตัวอ่อนจึงมีความสำคัญกับคู่รัก แต่ขณะเดียวกันก็มีข้อจำกัดที่เกิดขึ้นในบางประการที่คู่รักควรรู้ก่อนตรวจ บทความนี้ จะพาคู่รักหลายๆ คู่ ที่ควรตรวจสุขภาพก่อนแต่งงาน หรือผู้ที่ทำเด็กหลอดแก้ว ไปได้ทำความรู้จักข้อดี และข้อจำกัดการตรวจโครโมโซม และควรตัดสินใจอย่างไร มาเริ่มกันเลย การตรวจโครโมโซมตัวอ่อน (NGS) คืออะไร? NGS…

Read More

ทำ ICSI

การตรวจ AMH มีประโยชน์อย่างไรในการทำ icsi

การตรวจ AMH มีประโยชน์อย่างไรในการทำ icsi การตรวจ AMH กุญแจสำคัญสู่ความสำเร็จทำ ICSI คู่รักที่มีบุตรยาก และอยากมีลูก หลายคู่ต่างใฝ่ฝันที่จะสร้างครอบครัวที่สมบูรณ์แบบ เทคโนโลยีทางการแพทย์หรือการทำ icsi  เปรียบเสมือนแสงสว่างช่วยให้ความฝันการมีลูกนั้นเป็นจริง แต่เส้นทางสู่ความสำเร็จอาจมีปัจจัยหลายประการที่มีอิทธิพลต่อการตั้งครรภ์  หนึ่งในนั้นก็คือระดับฮอร์โมน AMH ในร่างกายของผู้หญิง เพราะ AMH เป็นเหมือนเข็มทิศนำทาง บ่งบอกถึง "ปริมาณไข่สำรอง" ของผู้หญิง และเพื่อพาคู่รักไขข้อข้องใจ มาทำความรู้จักกับบทบาทสำคัญของ AMH และร่วมค้นพบว่า การตรวจ AMH…

Read More

ทำ icsi

ข้อกฏหมายสำหรับการรักษาผู้มีบุตรยากในประเทศไทย

ข้อกฏหมายสำหรับการรักษาผู้มีบุตรยากในประเทศไทย ทำความรู้จักข้อกฎหมายการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ ทำ ivf ทำ icsi ปัจจุบันมีคู่รักหลายคู่ที่เผชิญกับภาวะมีบุตรยาก การใช้เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์จึงกลายมาเป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับผู้ที่อยากมีลูก ดังนั้นกฎหมายที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ จึงเป็นเรื่องที่คู่รักต้องทำความรู้จัก และศึกษาให้ดี เพื่อกำหนดสถานะความพ่อ และแม่ ที่ชอบด้วยกฎหมายของเด็กที่เกิดโดยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ได้อย่างเหมาะสม ทำไมทำเด็กหลอดแก้วต้องรู้กฎหมาย และข้อบังคับ การมีกฎหมายสำหรับการรักษาภาวะผู้มีบุตรยากในประเทศไทย เป็นการสร้างกรอบการดำเนินงานที่เป็นธรรม เพื่อความปลอดภัยของผู้ที่มีบุตรยาก ช่วยลดความเสี่ยง และเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา รวมถึงป้องกันการรักษาที่ไม่ได้มาตรฐานหรือผิดกฎหมาย ตลอดจนการแสวงหาผลประโยชน์ รวมถึงการเกิดปัญหาทางสังคม และที่สำคัญเพื่อเป็นป้องกันการละเมิดสิทธิ และรักษาจริยธรรมทางการแพทย์ในการดำเนินการด้านการรักษาภาวะมีบุตรยาก เช่น การทำเด็กหลอดแก้ว ทำ ivf…

Read More